line
วิตามินบี 9 (โฟเลต)

Written by admin

Aug 6, 2018

06/08/2018

การขาดวิตามินบี 9 (โฟเลต) ทำให้เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย เป็นโลหิตจางชนิดเม็ดเลือดแดงแบ่งตัวช้าจึงมีขนาดใหญ่ผิดปกติ (Megaloblastic anemia) มีลิ้นแดง ผิวหนังอักเสบ ซึด ริมฝีปากแตก ระบบประสาทผิดปกติ ความจำเสื่อม เกิดอารมณ์แปรปวนง่าย เบื่ออาหาร กระดูกสันหลังเสื่อม เดินเซ หากทารกในครรภ์อายุ 2 เดือนมีโฟลิกต่ำจะส่งผลให้เกิดกระดูกสันหลังโก่ง กระดูกไม่ปิด การสร้างสมองผิดปกติ การรับประทาน แอสไพริน ยาคุมกำเนิด ยากันชัก (Phenytoin) ยาลดน้ำตาลในเลือด (Metformin) ยาต้านอักเสบ (Sulfasalazine) ยาขับปัสสาวะ (Triamterene) ยานอนหลับ (Barbiturates) ยาแก้แพ้ภูมิ (Methotrexate) ทำให้โฟเลตลดต่ำ ผู้ป่วยลำไส้อักเสบ และผู้ที่สูบบุหรี่จะขาดโฟเลต จากการศึกษาพบว่า ในช่วยอายุ 40-70 ปี ผู้ที่ดื่มสุราและขาดโฟเลตจะเป็นมะเร็งลำไส้สูงกว่าผู้ที่รับประทานโฟเลตและกรดอะมิโนเมทไธโอนีน ไม่มีรายงานพิษจากการรับประทานโฟเลตมากกว่าปริมาณที่แนะนำเพราะโฟเลตละลายน้ำได้ ส่วนที่เหินจึงถูกขับออกพร้อมกับปัสสาวะ อย่างไรก็ตามการรับประทานโฟเลตมากเกินไปจะทำให้ขาดวิตามินบี 12 ดังนั้นจึงไม่ควรรับประทานโฟเลตเกิน 2 เท่าของปริมาณที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน พบความสัมพันธ์ว่าการที่ร่างกายมีโฟเลตต่ำ […]

การขาดวิตามินบี 9 (โฟเลต)

  • ทำให้เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย
  • เป็นโลหิตจางชนิดเม็ดเลือดแดงแบ่งตัวช้าจึงมีขนาดใหญ่ผิดปกติ (Megaloblastic anemia)
  • มีลิ้นแดง
  • ผิวหนังอักเสบ ซึด ริมฝีปากแตก
  • ระบบประสาทผิดปกติ ความจำเสื่อม
  • เกิดอารมณ์แปรปวนง่าย
  • เบื่ออาหาร
  • กระดูกสันหลังเสื่อม เดินเซ
  • หากทารกในครรภ์อายุ 2 เดือนมีโฟลิกต่ำจะส่งผลให้เกิดกระดูกสันหลังโก่ง กระดูกไม่ปิด การสร้างสมองผิดปกติ
  • การรับประทาน แอสไพริน ยาคุมกำเนิด ยากันชัก (Phenytoin) ยาลดน้ำตาลในเลือด (Metformin) ยาต้านอักเสบ (Sulfasalazine) ยาขับปัสสาวะ (Triamterene) ยานอนหลับ (Barbiturates) ยาแก้แพ้ภูมิ (Methotrexate) ทำให้โฟเลตลดต่ำ
  • ผู้ป่วยลำไส้อักเสบ และผู้ที่สูบบุหรี่จะขาดโฟเลต
  • จากการศึกษาพบว่า ในช่วยอายุ 40-70 ปี ผู้ที่ดื่มสุราและขาดโฟเลตจะเป็นมะเร็งลำไส้สูงกว่าผู้ที่รับประทานโฟเลตและกรดอะมิโนเมทไธโอนีน
  • ไม่มีรายงานพิษจากการรับประทานโฟเลตมากกว่าปริมาณที่แนะนำเพราะโฟเลตละลายน้ำได้ ส่วนที่เหินจึงถูกขับออกพร้อมกับปัสสาวะ อย่างไรก็ตามการรับประทานโฟเลตมากเกินไปจะทำให้ขาดวิตามินบี 12 ดังนั้นจึงไม่ควรรับประทานโฟเลตเกิน 2 เท่าของปริมาณที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน
  • พบความสัมพันธ์ว่าการที่ร่างกายมีโฟเลตต่ำ ขาดวิตามินบี 12 และบี 6 จะทำให้กรดอะมิโนโฮโมซีสเทอีน (Homocysteine) สูงมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ


 

 

แหล่งข้อมูล  – คู่มืออาหารเสริมฉบับสมบูรณ์

หากร่างกายได้รับโฟเลตจากอาหารไม่เพียงพอ ก็สามารถรับประทานจากผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร แบบเจลได้ พร้อมกับได้รับสารอาหารชนิดอื่นครบเพียงพอต่อวัน ด้วย AGEL MIN

มิน MIN วิตามินแร่ธาตุเพียงพอต่อหนึ่งวัน RDI

MIN ส่วนประกอบ
[/et_pb_text][/et_pb_column][/et_pb_row][/et_pb_section]

ประโยชน์ของวิตามินบี 9 (โฟเลต)

  • ช่วยให้เจริญอาหาร แก้อาการอ่อนเพลีย
  • ช่วยป้องกันแผลร้อนในได้
  • ช่วยรักษาภาวะซีดหรือโลหิตจาง
  • ทำงานออกฤทธิ์คล้ายยาแก้ปวด
  • ช่วยบำรุงผิวพรรณและสุขภาพ
  • ช่วยป้องกันพยาธิในลำไส้และอาการแพ้จากอาหารเป็นพิษ
  • ช่วยป้องกันการพิการของเด็กทารกแรกเกิด
  • ช่วยในการสร้างน้ำนมของมารดาหลังคลอดบุตร
  • ช่วยชะลอให้ผมขาวช้าลง หากรับประทานร่วมกับพาบาและ วิตามินบี 5
  • ช่วยลดระดับของกรดอะมิโนโฮโมซิสเทอีนในเลือด
  • ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจได้
  • ช่วยแก้ปัญหาสีผิวไม่สม่ำเสมอได้
  • เร่งการสลายไขมัน ลดการสะสมของคอเลสเตอรอลในตับ และในเลือด
  • การรับประทานโฟเลต 5 มิลิกรัมต่อวันช่วยลดความดันโลหิตและลดความเสี่ยงของเส้นเลือดในสมองแตก (Stroke)
  • เพิ่มประสิทธิภาพของสมอง ความจำระยะสั้น ความคิด การพูด
  • ลดการแพ้หอบ หอบหืด มีภูมิคุ้มกันที่ก่ออาการแพ้ (IgE) ในเลือดลดลง
  • ช่วยการสร้างสเปิร์มในเพศชาย ในเพศหญิงช่วยให้ไข่แบ่งตัวสมบูรณ์และช่วยการฝังตัวของตัวอ่อน

การขาดวิตามินบี 9 (โฟเลต)

  • ทำให้เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย
  • เป็นโลหิตจางชนิดเม็ดเลือดแดงแบ่งตัวช้าจึงมีขนาดใหญ่ผิดปกติ (Megaloblastic anemia)
  • มีลิ้นแดง
  • ผิวหนังอักเสบ ซึด ริมฝีปากแตก
  • ระบบประสาทผิดปกติ ความจำเสื่อม
  • เกิดอารมณ์แปรปวนง่าย
  • เบื่ออาหาร
  • กระดูกสันหลังเสื่อม เดินเซ
  • หากทารกในครรภ์อายุ 2 เดือนมีโฟลิกต่ำจะส่งผลให้เกิดกระดูกสันหลังโก่ง กระดูกไม่ปิด การสร้างสมองผิดปกติ
  • การรับประทาน แอสไพริน ยาคุมกำเนิด ยากันชัก (Phenytoin) ยาลดน้ำตาลในเลือด (Metformin) ยาต้านอักเสบ (Sulfasalazine) ยาขับปัสสาวะ (Triamterene) ยานอนหลับ (Barbiturates) ยาแก้แพ้ภูมิ (Methotrexate) ทำให้โฟเลตลดต่ำ
  • ผู้ป่วยลำไส้อักเสบ และผู้ที่สูบบุหรี่จะขาดโฟเลต
  • จากการศึกษาพบว่า ในช่วยอายุ 40-70 ปี ผู้ที่ดื่มสุราและขาดโฟเลตจะเป็นมะเร็งลำไส้สูงกว่าผู้ที่รับประทานโฟเลตและกรดอะมิโนเมทไธโอนีน
  • ไม่มีรายงานพิษจากการรับประทานโฟเลตมากกว่าปริมาณที่แนะนำเพราะโฟเลตละลายน้ำได้ ส่วนที่เหินจึงถูกขับออกพร้อมกับปัสสาวะ อย่างไรก็ตามการรับประทานโฟเลตมากเกินไปจะทำให้ขาดวิตามินบี 12 ดังนั้นจึงไม่ควรรับประทานโฟเลตเกิน 2 เท่าของปริมาณที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน
  • พบความสัมพันธ์ว่าการที่ร่างกายมีโฟเลตต่ำ ขาดวิตามินบี 12 และบี 6 จะทำให้กรดอะมิโนโฮโมซีสเทอีน (Homocysteine) สูงมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ


 

 

แหล่งข้อมูล  – คู่มืออาหารเสริมฉบับสมบูรณ์

หากร่างกายได้รับโฟเลตจากอาหารไม่เพียงพอ ก็สามารถรับประทานจากผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร แบบเจลได้ พร้อมกับได้รับสารอาหารชนิดอื่นครบเพียงพอต่อวัน ด้วย AGEL MIN

มิน MIN วิตามินแร่ธาตุเพียงพอต่อหนึ่งวัน RDI

MIN ส่วนประกอบ
[/et_pb_text][/et_pb_column][/et_pb_row][/et_pb_section]

ตารางแสดงปริมาณโฟเลตที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน

อายุ โฟเลตที่ต้องการ (ไมโครกรัม)
แรกเกิด-6เดือน 65
6 เดือน-1ปี 80
1-3 ปี 150
4-8 ปี 200
9-13 ปี 300
14 ปี 400
สตรีมีครรภ์ 600
สตรีให้นมบุตร 500

จากตารางจะเห็นได้ว่า อาหารธัญพืชที่ผสมโฟเลตจะมีปริมาณเพียงพอที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน หรือรับประทานตับไก่เพียงครึ่งขีด ก็จะได้รับโฟเลตราว 400 ไมโครกรัมซึ่งเพียงพอต่อร่างกายแล้ว จึงไม่จำเป็นต้องเสริมโฟเลต แต่ยังพบการขาดโฟเลตในคนทั่วไป เนื่องจากการรับประทานอาหารไม่ครบถ้วน การตั้งครรภ์ การดูดซึมผิดปกติ หรือการอื่มสุรา

การขาดโฟเลตระหว่างการตั้งครรภ์ส่งผลให้ทารกมีน้ำหนักตัวน้อยอาจพิการหรือแท้งได้ สตรีมีครรภ์จึงควรรับประทานอาหารที่มีกรดโฟลิกหรือรับประทานโฟเลตเสริมอาหาร

ประโยชน์ของวิตามินบี 9 (โฟเลต)

  • ช่วยให้เจริญอาหาร แก้อาการอ่อนเพลีย
  • ช่วยป้องกันแผลร้อนในได้
  • ช่วยรักษาภาวะซีดหรือโลหิตจาง
  • ทำงานออกฤทธิ์คล้ายยาแก้ปวด
  • ช่วยบำรุงผิวพรรณและสุขภาพ
  • ช่วยป้องกันพยาธิในลำไส้และอาการแพ้จากอาหารเป็นพิษ
  • ช่วยป้องกันการพิการของเด็กทารกแรกเกิด
  • ช่วยในการสร้างน้ำนมของมารดาหลังคลอดบุตร
  • ช่วยชะลอให้ผมขาวช้าลง หากรับประทานร่วมกับพาบาและ วิตามินบี 5
  • ช่วยลดระดับของกรดอะมิโนโฮโมซิสเทอีนในเลือด
  • ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจได้
  • ช่วยแก้ปัญหาสีผิวไม่สม่ำเสมอได้
  • เร่งการสลายไขมัน ลดการสะสมของคอเลสเตอรอลในตับ และในเลือด
  • การรับประทานโฟเลต 5 มิลิกรัมต่อวันช่วยลดความดันโลหิตและลดความเสี่ยงของเส้นเลือดในสมองแตก (Stroke)
  • เพิ่มประสิทธิภาพของสมอง ความจำระยะสั้น ความคิด การพูด
  • ลดการแพ้หอบ หอบหืด มีภูมิคุ้มกันที่ก่ออาการแพ้ (IgE) ในเลือดลดลง
  • ช่วยการสร้างสเปิร์มในเพศชาย ในเพศหญิงช่วยให้ไข่แบ่งตัวสมบูรณ์และช่วยการฝังตัวของตัวอ่อน

การขาดวิตามินบี 9 (โฟเลต)

  • ทำให้เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย
  • เป็นโลหิตจางชนิดเม็ดเลือดแดงแบ่งตัวช้าจึงมีขนาดใหญ่ผิดปกติ (Megaloblastic anemia)
  • มีลิ้นแดง
  • ผิวหนังอักเสบ ซึด ริมฝีปากแตก
  • ระบบประสาทผิดปกติ ความจำเสื่อม
  • เกิดอารมณ์แปรปวนง่าย
  • เบื่ออาหาร
  • กระดูกสันหลังเสื่อม เดินเซ
  • หากทารกในครรภ์อายุ 2 เดือนมีโฟลิกต่ำจะส่งผลให้เกิดกระดูกสันหลังโก่ง กระดูกไม่ปิด การสร้างสมองผิดปกติ
  • การรับประทาน แอสไพริน ยาคุมกำเนิด ยากันชัก (Phenytoin) ยาลดน้ำตาลในเลือด (Metformin) ยาต้านอักเสบ (Sulfasalazine) ยาขับปัสสาวะ (Triamterene) ยานอนหลับ (Barbiturates) ยาแก้แพ้ภูมิ (Methotrexate) ทำให้โฟเลตลดต่ำ
  • ผู้ป่วยลำไส้อักเสบ และผู้ที่สูบบุหรี่จะขาดโฟเลต
  • จากการศึกษาพบว่า ในช่วยอายุ 40-70 ปี ผู้ที่ดื่มสุราและขาดโฟเลตจะเป็นมะเร็งลำไส้สูงกว่าผู้ที่รับประทานโฟเลตและกรดอะมิโนเมทไธโอนีน
  • ไม่มีรายงานพิษจากการรับประทานโฟเลตมากกว่าปริมาณที่แนะนำเพราะโฟเลตละลายน้ำได้ ส่วนที่เหินจึงถูกขับออกพร้อมกับปัสสาวะ อย่างไรก็ตามการรับประทานโฟเลตมากเกินไปจะทำให้ขาดวิตามินบี 12 ดังนั้นจึงไม่ควรรับประทานโฟเลตเกิน 2 เท่าของปริมาณที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน
  • พบความสัมพันธ์ว่าการที่ร่างกายมีโฟเลตต่ำ ขาดวิตามินบี 12 และบี 6 จะทำให้กรดอะมิโนโฮโมซีสเทอีน (Homocysteine) สูงมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ


 

 

แหล่งข้อมูล  – คู่มืออาหารเสริมฉบับสมบูรณ์

หากร่างกายได้รับโฟเลตจากอาหารไม่เพียงพอ ก็สามารถรับประทานจากผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร แบบเจลได้ พร้อมกับได้รับสารอาหารชนิดอื่นครบเพียงพอต่อวัน ด้วย AGEL MIN

มิน MIN วิตามินแร่ธาตุเพียงพอต่อหนึ่งวัน RDI

MIN ส่วนประกอบ
[/et_pb_text][/et_pb_column][/et_pb_row][/et_pb_section]

ตารางแสดงปริมาณโฟเลตในอาหาร

อาหาร โฟเลต (ไมโครกรัม)
ตับไก่ 1 ขีด 770
ถั่วดำสุก 1/2 ถ้วย 130
หน่อไม้ฝรั่งสุก 5 ยอด 100
ผักโขมสุกครึ่งถ้วย 100
สตรอเบอร์รี่ 8 ผล 80
ข้าวสุกครึ่งถ้วย 65
อะโวคาโดครึ่งผล 55
บรอกโคลีสุกครึ่งถ้วย 50
ส้ม 1 ผล 40
ไข่ 1 ฟอง 25
มะละกอครึ่งถ้วย 25
กล้วย 1 ผล 20
อาหารธัญพืชผสมโฟเลต 400

โฟเลตมีหน้าที่ ช่วยสร้างเซลล์ เนื้อเยื่อ พัฒนาระบบประสาทและสมอง ควบคุมการสร้างสารพันธุกรรม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกายโดยเฉพาะเด็กทารก เด็กก่อนวัยเรียน และเด็กวัยเรียน ป้องกันความผิดปกติของร่างกายระหว่างตั้งครรภ์โดยเฉพาะการสร้างประสาทและสมองปัองกันการแท้ง ช่วยผลิตเม็ดเลือดแดง ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ควบคุมความอยากอาหาร บรรเทาอาการซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ลดระดับโฮโมซิสเทอีนซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่เพิ่มความเสี่ยงของการเป็นโรคหัวใจ ลดการเกิดมะเร็งลำไส้ มะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งปากมดลูก เป็นต้น

ตารางแสดงปริมาณโฟเลตที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน

อายุ โฟเลตที่ต้องการ (ไมโครกรัม)
แรกเกิด-6เดือน 65
6 เดือน-1ปี 80
1-3 ปี 150
4-8 ปี 200
9-13 ปี 300
14 ปี 400
สตรีมีครรภ์ 600
สตรีให้นมบุตร 500

จากตารางจะเห็นได้ว่า อาหารธัญพืชที่ผสมโฟเลตจะมีปริมาณเพียงพอที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน หรือรับประทานตับไก่เพียงครึ่งขีด ก็จะได้รับโฟเลตราว 400 ไมโครกรัมซึ่งเพียงพอต่อร่างกายแล้ว จึงไม่จำเป็นต้องเสริมโฟเลต แต่ยังพบการขาดโฟเลตในคนทั่วไป เนื่องจากการรับประทานอาหารไม่ครบถ้วน การตั้งครรภ์ การดูดซึมผิดปกติ หรือการอื่มสุรา

การขาดโฟเลตระหว่างการตั้งครรภ์ส่งผลให้ทารกมีน้ำหนักตัวน้อยอาจพิการหรือแท้งได้ สตรีมีครรภ์จึงควรรับประทานอาหารที่มีกรดโฟลิกหรือรับประทานโฟเลตเสริมอาหาร

ประโยชน์ของวิตามินบี 9 (โฟเลต)

  • ช่วยให้เจริญอาหาร แก้อาการอ่อนเพลีย
  • ช่วยป้องกันแผลร้อนในได้
  • ช่วยรักษาภาวะซีดหรือโลหิตจาง
  • ทำงานออกฤทธิ์คล้ายยาแก้ปวด
  • ช่วยบำรุงผิวพรรณและสุขภาพ
  • ช่วยป้องกันพยาธิในลำไส้และอาการแพ้จากอาหารเป็นพิษ
  • ช่วยป้องกันการพิการของเด็กทารกแรกเกิด
  • ช่วยในการสร้างน้ำนมของมารดาหลังคลอดบุตร
  • ช่วยชะลอให้ผมขาวช้าลง หากรับประทานร่วมกับพาบาและ วิตามินบี 5
  • ช่วยลดระดับของกรดอะมิโนโฮโมซิสเทอีนในเลือด
  • ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจได้
  • ช่วยแก้ปัญหาสีผิวไม่สม่ำเสมอได้
  • เร่งการสลายไขมัน ลดการสะสมของคอเลสเตอรอลในตับ และในเลือด
  • การรับประทานโฟเลต 5 มิลิกรัมต่อวันช่วยลดความดันโลหิตและลดความเสี่ยงของเส้นเลือดในสมองแตก (Stroke)
  • เพิ่มประสิทธิภาพของสมอง ความจำระยะสั้น ความคิด การพูด
  • ลดการแพ้หอบ หอบหืด มีภูมิคุ้มกันที่ก่ออาการแพ้ (IgE) ในเลือดลดลง
  • ช่วยการสร้างสเปิร์มในเพศชาย ในเพศหญิงช่วยให้ไข่แบ่งตัวสมบูรณ์และช่วยการฝังตัวของตัวอ่อน

การขาดวิตามินบี 9 (โฟเลต)

  • ทำให้เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย
  • เป็นโลหิตจางชนิดเม็ดเลือดแดงแบ่งตัวช้าจึงมีขนาดใหญ่ผิดปกติ (Megaloblastic anemia)
  • มีลิ้นแดง
  • ผิวหนังอักเสบ ซึด ริมฝีปากแตก
  • ระบบประสาทผิดปกติ ความจำเสื่อม
  • เกิดอารมณ์แปรปวนง่าย
  • เบื่ออาหาร
  • กระดูกสันหลังเสื่อม เดินเซ
  • หากทารกในครรภ์อายุ 2 เดือนมีโฟลิกต่ำจะส่งผลให้เกิดกระดูกสันหลังโก่ง กระดูกไม่ปิด การสร้างสมองผิดปกติ
  • การรับประทาน แอสไพริน ยาคุมกำเนิด ยากันชัก (Phenytoin) ยาลดน้ำตาลในเลือด (Metformin) ยาต้านอักเสบ (Sulfasalazine) ยาขับปัสสาวะ (Triamterene) ยานอนหลับ (Barbiturates) ยาแก้แพ้ภูมิ (Methotrexate) ทำให้โฟเลตลดต่ำ
  • ผู้ป่วยลำไส้อักเสบ และผู้ที่สูบบุหรี่จะขาดโฟเลต
  • จากการศึกษาพบว่า ในช่วยอายุ 40-70 ปี ผู้ที่ดื่มสุราและขาดโฟเลตจะเป็นมะเร็งลำไส้สูงกว่าผู้ที่รับประทานโฟเลตและกรดอะมิโนเมทไธโอนีน
  • ไม่มีรายงานพิษจากการรับประทานโฟเลตมากกว่าปริมาณที่แนะนำเพราะโฟเลตละลายน้ำได้ ส่วนที่เหินจึงถูกขับออกพร้อมกับปัสสาวะ อย่างไรก็ตามการรับประทานโฟเลตมากเกินไปจะทำให้ขาดวิตามินบี 12 ดังนั้นจึงไม่ควรรับประทานโฟเลตเกิน 2 เท่าของปริมาณที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน
  • พบความสัมพันธ์ว่าการที่ร่างกายมีโฟเลตต่ำ ขาดวิตามินบี 12 และบี 6 จะทำให้กรดอะมิโนโฮโมซีสเทอีน (Homocysteine) สูงมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ


 

 

แหล่งข้อมูล  – คู่มืออาหารเสริมฉบับสมบูรณ์

หากร่างกายได้รับโฟเลตจากอาหารไม่เพียงพอ ก็สามารถรับประทานจากผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร แบบเจลได้ พร้อมกับได้รับสารอาหารชนิดอื่นครบเพียงพอต่อวัน ด้วย AGEL MIN

มิน MIN วิตามินแร่ธาตุเพียงพอต่อหนึ่งวัน RDI

MIN ส่วนประกอบ
[/et_pb_text][/et_pb_column][/et_pb_row][/et_pb_section]

ที่มา อาหาร โฟเลต

  • ถั่ว
  • ธัญพืช
  • ผักใบเขียวเข้ม
  • อะโวคาโด
  • แคร์รอต
  • แคนตาลูป
  • ฟักทอง
  • เอพริคอต
  • กล้วย
  • ส้ม
  • ผลไม้รสเปรี้ยว (เช่นตระกูลเบอร์รี่)
  • ข้าวซ้อมมือ
  • แป้งไรย์แบบสีเข้มที่ไม่ผ่านการขัดสี
  • ยีสต์
  • ตับ
  • ไข่
  • ไก่
  • หมู

ตารางแสดงปริมาณโฟเลตในอาหาร

อาหาร โฟเลต (ไมโครกรัม)
ตับไก่ 1 ขีด 770
ถั่วดำสุก 1/2 ถ้วย 130
หน่อไม้ฝรั่งสุก 5 ยอด 100
ผักโขมสุกครึ่งถ้วย 100
สตรอเบอร์รี่ 8 ผล 80
ข้าวสุกครึ่งถ้วย 65
อะโวคาโดครึ่งผล 55
บรอกโคลีสุกครึ่งถ้วย 50
ส้ม 1 ผล 40
ไข่ 1 ฟอง 25
มะละกอครึ่งถ้วย 25
กล้วย 1 ผล 20
อาหารธัญพืชผสมโฟเลต 400

โฟเลตมีหน้าที่ ช่วยสร้างเซลล์ เนื้อเยื่อ พัฒนาระบบประสาทและสมอง ควบคุมการสร้างสารพันธุกรรม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกายโดยเฉพาะเด็กทารก เด็กก่อนวัยเรียน และเด็กวัยเรียน ป้องกันความผิดปกติของร่างกายระหว่างตั้งครรภ์โดยเฉพาะการสร้างประสาทและสมองปัองกันการแท้ง ช่วยผลิตเม็ดเลือดแดง ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ควบคุมความอยากอาหาร บรรเทาอาการซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ลดระดับโฮโมซิสเทอีนซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่เพิ่มความเสี่ยงของการเป็นโรคหัวใจ ลดการเกิดมะเร็งลำไส้ มะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งปากมดลูก เป็นต้น

ตารางแสดงปริมาณโฟเลตที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน

อายุ โฟเลตที่ต้องการ (ไมโครกรัม)
แรกเกิด-6เดือน 65
6 เดือน-1ปี 80
1-3 ปี 150
4-8 ปี 200
9-13 ปี 300
14 ปี 400
สตรีมีครรภ์ 600
สตรีให้นมบุตร 500

จากตารางจะเห็นได้ว่า อาหารธัญพืชที่ผสมโฟเลตจะมีปริมาณเพียงพอที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน หรือรับประทานตับไก่เพียงครึ่งขีด ก็จะได้รับโฟเลตราว 400 ไมโครกรัมซึ่งเพียงพอต่อร่างกายแล้ว จึงไม่จำเป็นต้องเสริมโฟเลต แต่ยังพบการขาดโฟเลตในคนทั่วไป เนื่องจากการรับประทานอาหารไม่ครบถ้วน การตั้งครรภ์ การดูดซึมผิดปกติ หรือการอื่มสุรา

การขาดโฟเลตระหว่างการตั้งครรภ์ส่งผลให้ทารกมีน้ำหนักตัวน้อยอาจพิการหรือแท้งได้ สตรีมีครรภ์จึงควรรับประทานอาหารที่มีกรดโฟลิกหรือรับประทานโฟเลตเสริมอาหาร

ประโยชน์ของวิตามินบี 9 (โฟเลต)

  • ช่วยให้เจริญอาหาร แก้อาการอ่อนเพลีย
  • ช่วยป้องกันแผลร้อนในได้
  • ช่วยรักษาภาวะซีดหรือโลหิตจาง
  • ทำงานออกฤทธิ์คล้ายยาแก้ปวด
  • ช่วยบำรุงผิวพรรณและสุขภาพ
  • ช่วยป้องกันพยาธิในลำไส้และอาการแพ้จากอาหารเป็นพิษ
  • ช่วยป้องกันการพิการของเด็กทารกแรกเกิด
  • ช่วยในการสร้างน้ำนมของมารดาหลังคลอดบุตร
  • ช่วยชะลอให้ผมขาวช้าลง หากรับประทานร่วมกับพาบาและ วิตามินบี 5
  • ช่วยลดระดับของกรดอะมิโนโฮโมซิสเทอีนในเลือด
  • ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจได้
  • ช่วยแก้ปัญหาสีผิวไม่สม่ำเสมอได้
  • เร่งการสลายไขมัน ลดการสะสมของคอเลสเตอรอลในตับ และในเลือด
  • การรับประทานโฟเลต 5 มิลิกรัมต่อวันช่วยลดความดันโลหิตและลดความเสี่ยงของเส้นเลือดในสมองแตก (Stroke)
  • เพิ่มประสิทธิภาพของสมอง ความจำระยะสั้น ความคิด การพูด
  • ลดการแพ้หอบ หอบหืด มีภูมิคุ้มกันที่ก่ออาการแพ้ (IgE) ในเลือดลดลง
  • ช่วยการสร้างสเปิร์มในเพศชาย ในเพศหญิงช่วยให้ไข่แบ่งตัวสมบูรณ์และช่วยการฝังตัวของตัวอ่อน

การขาดวิตามินบี 9 (โฟเลต)

  • ทำให้เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย
  • เป็นโลหิตจางชนิดเม็ดเลือดแดงแบ่งตัวช้าจึงมีขนาดใหญ่ผิดปกติ (Megaloblastic anemia)
  • มีลิ้นแดง
  • ผิวหนังอักเสบ ซึด ริมฝีปากแตก
  • ระบบประสาทผิดปกติ ความจำเสื่อม
  • เกิดอารมณ์แปรปวนง่าย
  • เบื่ออาหาร
  • กระดูกสันหลังเสื่อม เดินเซ
  • หากทารกในครรภ์อายุ 2 เดือนมีโฟลิกต่ำจะส่งผลให้เกิดกระดูกสันหลังโก่ง กระดูกไม่ปิด การสร้างสมองผิดปกติ
  • การรับประทาน แอสไพริน ยาคุมกำเนิด ยากันชัก (Phenytoin) ยาลดน้ำตาลในเลือด (Metformin) ยาต้านอักเสบ (Sulfasalazine) ยาขับปัสสาวะ (Triamterene) ยานอนหลับ (Barbiturates) ยาแก้แพ้ภูมิ (Methotrexate) ทำให้โฟเลตลดต่ำ
  • ผู้ป่วยลำไส้อักเสบ และผู้ที่สูบบุหรี่จะขาดโฟเลต
  • จากการศึกษาพบว่า ในช่วยอายุ 40-70 ปี ผู้ที่ดื่มสุราและขาดโฟเลตจะเป็นมะเร็งลำไส้สูงกว่าผู้ที่รับประทานโฟเลตและกรดอะมิโนเมทไธโอนีน
  • ไม่มีรายงานพิษจากการรับประทานโฟเลตมากกว่าปริมาณที่แนะนำเพราะโฟเลตละลายน้ำได้ ส่วนที่เหินจึงถูกขับออกพร้อมกับปัสสาวะ อย่างไรก็ตามการรับประทานโฟเลตมากเกินไปจะทำให้ขาดวิตามินบี 12 ดังนั้นจึงไม่ควรรับประทานโฟเลตเกิน 2 เท่าของปริมาณที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน
  • พบความสัมพันธ์ว่าการที่ร่างกายมีโฟเลตต่ำ ขาดวิตามินบี 12 และบี 6 จะทำให้กรดอะมิโนโฮโมซีสเทอีน (Homocysteine) สูงมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ


 

 

แหล่งข้อมูล  – คู่มืออาหารเสริมฉบับสมบูรณ์

หากร่างกายได้รับโฟเลตจากอาหารไม่เพียงพอ ก็สามารถรับประทานจากผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร แบบเจลได้ พร้อมกับได้รับสารอาหารชนิดอื่นครบเพียงพอต่อวัน ด้วย AGEL MIN

มิน MIN วิตามินแร่ธาตุเพียงพอต่อหนึ่งวัน RDI

MIN ส่วนประกอบ
[/et_pb_text][/et_pb_column][/et_pb_row][/et_pb_section]

แหล่งที่มาของ วิตามินบี 9 (โฟเลต)

ที่มา อาหาร โฟเลต

  • ถั่ว
  • ธัญพืช
  • ผักใบเขียวเข้ม
  • อะโวคาโด
  • แคร์รอต
  • แคนตาลูป
  • ฟักทอง
  • เอพริคอต
  • กล้วย
  • ส้ม
  • ผลไม้รสเปรี้ยว (เช่นตระกูลเบอร์รี่)
  • ข้าวซ้อมมือ
  • แป้งไรย์แบบสีเข้มที่ไม่ผ่านการขัดสี
  • ยีสต์
  • ตับ
  • ไข่
  • ไก่
  • หมู

ตารางแสดงปริมาณโฟเลตในอาหาร

อาหาร โฟเลต (ไมโครกรัม)
ตับไก่ 1 ขีด 770
ถั่วดำสุก 1/2 ถ้วย 130
หน่อไม้ฝรั่งสุก 5 ยอด 100
ผักโขมสุกครึ่งถ้วย 100
สตรอเบอร์รี่ 8 ผล 80
ข้าวสุกครึ่งถ้วย 65
อะโวคาโดครึ่งผล 55
บรอกโคลีสุกครึ่งถ้วย 50
ส้ม 1 ผล 40
ไข่ 1 ฟอง 25
มะละกอครึ่งถ้วย 25
กล้วย 1 ผล 20
อาหารธัญพืชผสมโฟเลต 400

โฟเลตมีหน้าที่ ช่วยสร้างเซลล์ เนื้อเยื่อ พัฒนาระบบประสาทและสมอง ควบคุมการสร้างสารพันธุกรรม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกายโดยเฉพาะเด็กทารก เด็กก่อนวัยเรียน และเด็กวัยเรียน ป้องกันความผิดปกติของร่างกายระหว่างตั้งครรภ์โดยเฉพาะการสร้างประสาทและสมองปัองกันการแท้ง ช่วยผลิตเม็ดเลือดแดง ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ควบคุมความอยากอาหาร บรรเทาอาการซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ลดระดับโฮโมซิสเทอีนซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่เพิ่มความเสี่ยงของการเป็นโรคหัวใจ ลดการเกิดมะเร็งลำไส้ มะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งปากมดลูก เป็นต้น

ตารางแสดงปริมาณโฟเลตที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน

อายุ โฟเลตที่ต้องการ (ไมโครกรัม)
แรกเกิด-6เดือน 65
6 เดือน-1ปี 80
1-3 ปี 150
4-8 ปี 200
9-13 ปี 300
14 ปี 400
สตรีมีครรภ์ 600
สตรีให้นมบุตร 500

จากตารางจะเห็นได้ว่า อาหารธัญพืชที่ผสมโฟเลตจะมีปริมาณเพียงพอที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน หรือรับประทานตับไก่เพียงครึ่งขีด ก็จะได้รับโฟเลตราว 400 ไมโครกรัมซึ่งเพียงพอต่อร่างกายแล้ว จึงไม่จำเป็นต้องเสริมโฟเลต แต่ยังพบการขาดโฟเลตในคนทั่วไป เนื่องจากการรับประทานอาหารไม่ครบถ้วน การตั้งครรภ์ การดูดซึมผิดปกติ หรือการอื่มสุรา

การขาดโฟเลตระหว่างการตั้งครรภ์ส่งผลให้ทารกมีน้ำหนักตัวน้อยอาจพิการหรือแท้งได้ สตรีมีครรภ์จึงควรรับประทานอาหารที่มีกรดโฟลิกหรือรับประทานโฟเลตเสริมอาหาร

ประโยชน์ของวิตามินบี 9 (โฟเลต)

  • ช่วยให้เจริญอาหาร แก้อาการอ่อนเพลีย
  • ช่วยป้องกันแผลร้อนในได้
  • ช่วยรักษาภาวะซีดหรือโลหิตจาง
  • ทำงานออกฤทธิ์คล้ายยาแก้ปวด
  • ช่วยบำรุงผิวพรรณและสุขภาพ
  • ช่วยป้องกันพยาธิในลำไส้และอาการแพ้จากอาหารเป็นพิษ
  • ช่วยป้องกันการพิการของเด็กทารกแรกเกิด
  • ช่วยในการสร้างน้ำนมของมารดาหลังคลอดบุตร
  • ช่วยชะลอให้ผมขาวช้าลง หากรับประทานร่วมกับพาบาและ วิตามินบี 5
  • ช่วยลดระดับของกรดอะมิโนโฮโมซิสเทอีนในเลือด
  • ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจได้
  • ช่วยแก้ปัญหาสีผิวไม่สม่ำเสมอได้
  • เร่งการสลายไขมัน ลดการสะสมของคอเลสเตอรอลในตับ และในเลือด
  • การรับประทานโฟเลต 5 มิลิกรัมต่อวันช่วยลดความดันโลหิตและลดความเสี่ยงของเส้นเลือดในสมองแตก (Stroke)
  • เพิ่มประสิทธิภาพของสมอง ความจำระยะสั้น ความคิด การพูด
  • ลดการแพ้หอบ หอบหืด มีภูมิคุ้มกันที่ก่ออาการแพ้ (IgE) ในเลือดลดลง
  • ช่วยการสร้างสเปิร์มในเพศชาย ในเพศหญิงช่วยให้ไข่แบ่งตัวสมบูรณ์และช่วยการฝังตัวของตัวอ่อน

การขาดวิตามินบี 9 (โฟเลต)

  • ทำให้เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย
  • เป็นโลหิตจางชนิดเม็ดเลือดแดงแบ่งตัวช้าจึงมีขนาดใหญ่ผิดปกติ (Megaloblastic anemia)
  • มีลิ้นแดง
  • ผิวหนังอักเสบ ซึด ริมฝีปากแตก
  • ระบบประสาทผิดปกติ ความจำเสื่อม
  • เกิดอารมณ์แปรปวนง่าย
  • เบื่ออาหาร
  • กระดูกสันหลังเสื่อม เดินเซ
  • หากทารกในครรภ์อายุ 2 เดือนมีโฟลิกต่ำจะส่งผลให้เกิดกระดูกสันหลังโก่ง กระดูกไม่ปิด การสร้างสมองผิดปกติ
  • การรับประทาน แอสไพริน ยาคุมกำเนิด ยากันชัก (Phenytoin) ยาลดน้ำตาลในเลือด (Metformin) ยาต้านอักเสบ (Sulfasalazine) ยาขับปัสสาวะ (Triamterene) ยานอนหลับ (Barbiturates) ยาแก้แพ้ภูมิ (Methotrexate) ทำให้โฟเลตลดต่ำ
  • ผู้ป่วยลำไส้อักเสบ และผู้ที่สูบบุหรี่จะขาดโฟเลต
  • จากการศึกษาพบว่า ในช่วยอายุ 40-70 ปี ผู้ที่ดื่มสุราและขาดโฟเลตจะเป็นมะเร็งลำไส้สูงกว่าผู้ที่รับประทานโฟเลตและกรดอะมิโนเมทไธโอนีน
  • ไม่มีรายงานพิษจากการรับประทานโฟเลตมากกว่าปริมาณที่แนะนำเพราะโฟเลตละลายน้ำได้ ส่วนที่เหินจึงถูกขับออกพร้อมกับปัสสาวะ อย่างไรก็ตามการรับประทานโฟเลตมากเกินไปจะทำให้ขาดวิตามินบี 12 ดังนั้นจึงไม่ควรรับประทานโฟเลตเกิน 2 เท่าของปริมาณที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน
  • พบความสัมพันธ์ว่าการที่ร่างกายมีโฟเลตต่ำ ขาดวิตามินบี 12 และบี 6 จะทำให้กรดอะมิโนโฮโมซีสเทอีน (Homocysteine) สูงมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ


 

 

แหล่งข้อมูล  – คู่มืออาหารเสริมฉบับสมบูรณ์

หากร่างกายได้รับโฟเลตจากอาหารไม่เพียงพอ ก็สามารถรับประทานจากผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร แบบเจลได้ พร้อมกับได้รับสารอาหารชนิดอื่นครบเพียงพอต่อวัน ด้วย AGEL MIN

มิน MIN วิตามินแร่ธาตุเพียงพอต่อหนึ่งวัน RDI

MIN ส่วนประกอบ
[/et_pb_text][/et_pb_column][/et_pb_row][/et_pb_section]

วิตามินบี 9 (โฟเลต)

วิตามินบี 9 หรือโฟเลต เป็นวิตามินในกลุ่มวิตามินบี ซึ่งเป็นวิตามินประเภทละลายในน้ำ อาจเรียกว่า วิตามินบี 9 หรือวิตามินเอ็ม โฟเลตพบได้ในอาหารทั่วไป โดยเฉพาะผักจะมีมาก ผักชนิดแรกที่พบคือ ใบโฟเลียม (Folium leaf) จึงนำมาตั้งเป็นชื่อของวิตามินโฟเลต ซึ่งในธรรมชาติจะอยู่ในรูปของโฟเลต หากอยู่ในรูปสังเคราะห์จะอยู่ในรูปกรดโฟเลต

แหล่งที่มาของ วิตามินบี 9 (โฟเลต)

ที่มา อาหาร โฟเลต

  • ถั่ว
  • ธัญพืช
  • ผักใบเขียวเข้ม
  • อะโวคาโด
  • แคร์รอต
  • แคนตาลูป
  • ฟักทอง
  • เอพริคอต
  • กล้วย
  • ส้ม
  • ผลไม้รสเปรี้ยว (เช่นตระกูลเบอร์รี่)
  • ข้าวซ้อมมือ
  • แป้งไรย์แบบสีเข้มที่ไม่ผ่านการขัดสี
  • ยีสต์
  • ตับ
  • ไข่
  • ไก่
  • หมู

ตารางแสดงปริมาณโฟเลตในอาหาร

อาหาร โฟเลต (ไมโครกรัม)
ตับไก่ 1 ขีด 770
ถั่วดำสุก 1/2 ถ้วย 130
หน่อไม้ฝรั่งสุก 5 ยอด 100
ผักโขมสุกครึ่งถ้วย 100
สตรอเบอร์รี่ 8 ผล 80
ข้าวสุกครึ่งถ้วย 65
อะโวคาโดครึ่งผล 55
บรอกโคลีสุกครึ่งถ้วย 50
ส้ม 1 ผล 40
ไข่ 1 ฟอง 25
มะละกอครึ่งถ้วย 25
กล้วย 1 ผล 20
อาหารธัญพืชผสมโฟเลต 400

โฟเลตมีหน้าที่ ช่วยสร้างเซลล์ เนื้อเยื่อ พัฒนาระบบประสาทและสมอง ควบคุมการสร้างสารพันธุกรรม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกายโดยเฉพาะเด็กทารก เด็กก่อนวัยเรียน และเด็กวัยเรียน ป้องกันความผิดปกติของร่างกายระหว่างตั้งครรภ์โดยเฉพาะการสร้างประสาทและสมองปัองกันการแท้ง ช่วยผลิตเม็ดเลือดแดง ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ควบคุมความอยากอาหาร บรรเทาอาการซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ลดระดับโฮโมซิสเทอีนซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่เพิ่มความเสี่ยงของการเป็นโรคหัวใจ ลดการเกิดมะเร็งลำไส้ มะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งปากมดลูก เป็นต้น

ตารางแสดงปริมาณโฟเลตที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน

อายุ โฟเลตที่ต้องการ (ไมโครกรัม)
แรกเกิด-6เดือน 65
6 เดือน-1ปี 80
1-3 ปี 150
4-8 ปี 200
9-13 ปี 300
14 ปี 400
สตรีมีครรภ์ 600
สตรีให้นมบุตร 500

จากตารางจะเห็นได้ว่า อาหารธัญพืชที่ผสมโฟเลตจะมีปริมาณเพียงพอที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน หรือรับประทานตับไก่เพียงครึ่งขีด ก็จะได้รับโฟเลตราว 400 ไมโครกรัมซึ่งเพียงพอต่อร่างกายแล้ว จึงไม่จำเป็นต้องเสริมโฟเลต แต่ยังพบการขาดโฟเลตในคนทั่วไป เนื่องจากการรับประทานอาหารไม่ครบถ้วน การตั้งครรภ์ การดูดซึมผิดปกติ หรือการอื่มสุรา

การขาดโฟเลตระหว่างการตั้งครรภ์ส่งผลให้ทารกมีน้ำหนักตัวน้อยอาจพิการหรือแท้งได้ สตรีมีครรภ์จึงควรรับประทานอาหารที่มีกรดโฟลิกหรือรับประทานโฟเลตเสริมอาหาร

ประโยชน์ของวิตามินบี 9 (โฟเลต)

  • ช่วยให้เจริญอาหาร แก้อาการอ่อนเพลีย
  • ช่วยป้องกันแผลร้อนในได้
  • ช่วยรักษาภาวะซีดหรือโลหิตจาง
  • ทำงานออกฤทธิ์คล้ายยาแก้ปวด
  • ช่วยบำรุงผิวพรรณและสุขภาพ
  • ช่วยป้องกันพยาธิในลำไส้และอาการแพ้จากอาหารเป็นพิษ
  • ช่วยป้องกันการพิการของเด็กทารกแรกเกิด
  • ช่วยในการสร้างน้ำนมของมารดาหลังคลอดบุตร
  • ช่วยชะลอให้ผมขาวช้าลง หากรับประทานร่วมกับพาบาและ วิตามินบี 5
  • ช่วยลดระดับของกรดอะมิโนโฮโมซิสเทอีนในเลือด
  • ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจได้
  • ช่วยแก้ปัญหาสีผิวไม่สม่ำเสมอได้
  • เร่งการสลายไขมัน ลดการสะสมของคอเลสเตอรอลในตับ และในเลือด
  • การรับประทานโฟเลต 5 มิลิกรัมต่อวันช่วยลดความดันโลหิตและลดความเสี่ยงของเส้นเลือดในสมองแตก (Stroke)
  • เพิ่มประสิทธิภาพของสมอง ความจำระยะสั้น ความคิด การพูด
  • ลดการแพ้หอบ หอบหืด มีภูมิคุ้มกันที่ก่ออาการแพ้ (IgE) ในเลือดลดลง
  • ช่วยการสร้างสเปิร์มในเพศชาย ในเพศหญิงช่วยให้ไข่แบ่งตัวสมบูรณ์และช่วยการฝังตัวของตัวอ่อน

การขาดวิตามินบี 9 (โฟเลต)

  • ทำให้เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย
  • เป็นโลหิตจางชนิดเม็ดเลือดแดงแบ่งตัวช้าจึงมีขนาดใหญ่ผิดปกติ (Megaloblastic anemia)
  • มีลิ้นแดง
  • ผิวหนังอักเสบ ซึด ริมฝีปากแตก
  • ระบบประสาทผิดปกติ ความจำเสื่อม
  • เกิดอารมณ์แปรปวนง่าย
  • เบื่ออาหาร
  • กระดูกสันหลังเสื่อม เดินเซ
  • หากทารกในครรภ์อายุ 2 เดือนมีโฟลิกต่ำจะส่งผลให้เกิดกระดูกสันหลังโก่ง กระดูกไม่ปิด การสร้างสมองผิดปกติ
  • การรับประทาน แอสไพริน ยาคุมกำเนิด ยากันชัก (Phenytoin) ยาลดน้ำตาลในเลือด (Metformin) ยาต้านอักเสบ (Sulfasalazine) ยาขับปัสสาวะ (Triamterene) ยานอนหลับ (Barbiturates) ยาแก้แพ้ภูมิ (Methotrexate) ทำให้โฟเลตลดต่ำ
  • ผู้ป่วยลำไส้อักเสบ และผู้ที่สูบบุหรี่จะขาดโฟเลต
  • จากการศึกษาพบว่า ในช่วยอายุ 40-70 ปี ผู้ที่ดื่มสุราและขาดโฟเลตจะเป็นมะเร็งลำไส้สูงกว่าผู้ที่รับประทานโฟเลตและกรดอะมิโนเมทไธโอนีน
  • ไม่มีรายงานพิษจากการรับประทานโฟเลตมากกว่าปริมาณที่แนะนำเพราะโฟเลตละลายน้ำได้ ส่วนที่เหินจึงถูกขับออกพร้อมกับปัสสาวะ อย่างไรก็ตามการรับประทานโฟเลตมากเกินไปจะทำให้ขาดวิตามินบี 12 ดังนั้นจึงไม่ควรรับประทานโฟเลตเกิน 2 เท่าของปริมาณที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน
  • พบความสัมพันธ์ว่าการที่ร่างกายมีโฟเลตต่ำ ขาดวิตามินบี 12 และบี 6 จะทำให้กรดอะมิโนโฮโมซีสเทอีน (Homocysteine) สูงมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ


 

 

แหล่งข้อมูล  – คู่มืออาหารเสริมฉบับสมบูรณ์

หากร่างกายได้รับโฟเลตจากอาหารไม่เพียงพอ ก็สามารถรับประทานจากผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร แบบเจลได้ พร้อมกับได้รับสารอาหารชนิดอื่นครบเพียงพอต่อวัน ด้วย AGEL MIN

มิน MIN วิตามินแร่ธาตุเพียงพอต่อหนึ่งวัน RDI

MIN ส่วนประกอบ
[/et_pb_text][/et_pb_column][/et_pb_row][/et_pb_section]

วิตามินบี 9 (โฟเลต)

วิตามินบี 9 หรือโฟเลต เป็นวิตามินในกลุ่มวิตามินบี ซึ่งเป็นวิตามินประเภทละลายในน้ำ อาจเรียกว่า วิตามินบี 9 หรือวิตามินเอ็ม โฟเลตพบได้ในอาหารทั่วไป โดยเฉพาะผักจะมีมาก ผักชนิดแรกที่พบคือ ใบโฟเลียม (Folium leaf) จึงนำมาตั้งเป็นชื่อของวิตามินโฟเลต ซึ่งในธรรมชาติจะอยู่ในรูปของโฟเลต หากอยู่ในรูปสังเคราะห์จะอยู่ในรูปกรดโฟเลต

แหล่งที่มาของ วิตามินบี 9 (โฟเลต)

ที่มา อาหาร โฟเลต

  • ถั่ว
  • ธัญพืช
  • ผักใบเขียวเข้ม
  • อะโวคาโด
  • แคร์รอต
  • แคนตาลูป
  • ฟักทอง
  • เอพริคอต
  • กล้วย
  • ส้ม
  • ผลไม้รสเปรี้ยว (เช่นตระกูลเบอร์รี่)
  • ข้าวซ้อมมือ
  • แป้งไรย์แบบสีเข้มที่ไม่ผ่านการขัดสี
  • ยีสต์
  • ตับ
  • ไข่
  • ไก่
  • หมู

ตารางแสดงปริมาณโฟเลตในอาหาร

อาหาร โฟเลต (ไมโครกรัม)
ตับไก่ 1 ขีด 770
ถั่วดำสุก 1/2 ถ้วย 130
หน่อไม้ฝรั่งสุก 5 ยอด 100
ผักโขมสุกครึ่งถ้วย 100
สตรอเบอร์รี่ 8 ผล 80
ข้าวสุกครึ่งถ้วย 65
อะโวคาโดครึ่งผล 55
บรอกโคลีสุกครึ่งถ้วย 50
ส้ม 1 ผล 40
ไข่ 1 ฟอง 25
มะละกอครึ่งถ้วย 25
กล้วย 1 ผล 20
อาหารธัญพืชผสมโฟเลต 400

โฟเลตมีหน้าที่ ช่วยสร้างเซลล์ เนื้อเยื่อ พัฒนาระบบประสาทและสมอง ควบคุมการสร้างสารพันธุกรรม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกายโดยเฉพาะเด็กทารก เด็กก่อนวัยเรียน และเด็กวัยเรียน ป้องกันความผิดปกติของร่างกายระหว่างตั้งครรภ์โดยเฉพาะการสร้างประสาทและสมองปัองกันการแท้ง ช่วยผลิตเม็ดเลือดแดง ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ควบคุมความอยากอาหาร บรรเทาอาการซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ลดระดับโฮโมซิสเทอีนซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่เพิ่มความเสี่ยงของการเป็นโรคหัวใจ ลดการเกิดมะเร็งลำไส้ มะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งปากมดลูก เป็นต้น

ตารางแสดงปริมาณโฟเลตที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน

อายุ โฟเลตที่ต้องการ (ไมโครกรัม)
แรกเกิด-6เดือน 65
6 เดือน-1ปี 80
1-3 ปี 150
4-8 ปี 200
9-13 ปี 300
14 ปี 400
สตรีมีครรภ์ 600
สตรีให้นมบุตร 500

จากตารางจะเห็นได้ว่า อาหารธัญพืชที่ผสมโฟเลตจะมีปริมาณเพียงพอที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน หรือรับประทานตับไก่เพียงครึ่งขีด ก็จะได้รับโฟเลตราว 400 ไมโครกรัมซึ่งเพียงพอต่อร่างกายแล้ว จึงไม่จำเป็นต้องเสริมโฟเลต แต่ยังพบการขาดโฟเลตในคนทั่วไป เนื่องจากการรับประทานอาหารไม่ครบถ้วน การตั้งครรภ์ การดูดซึมผิดปกติ หรือการอื่มสุรา

การขาดโฟเลตระหว่างการตั้งครรภ์ส่งผลให้ทารกมีน้ำหนักตัวน้อยอาจพิการหรือแท้งได้ สตรีมีครรภ์จึงควรรับประทานอาหารที่มีกรดโฟลิกหรือรับประทานโฟเลตเสริมอาหาร

ประโยชน์ของวิตามินบี 9 (โฟเลต)

  • ช่วยให้เจริญอาหาร แก้อาการอ่อนเพลีย
  • ช่วยป้องกันแผลร้อนในได้
  • ช่วยรักษาภาวะซีดหรือโลหิตจาง
  • ทำงานออกฤทธิ์คล้ายยาแก้ปวด
  • ช่วยบำรุงผิวพรรณและสุขภาพ
  • ช่วยป้องกันพยาธิในลำไส้และอาการแพ้จากอาหารเป็นพิษ
  • ช่วยป้องกันการพิการของเด็กทารกแรกเกิด
  • ช่วยในการสร้างน้ำนมของมารดาหลังคลอดบุตร
  • ช่วยชะลอให้ผมขาวช้าลง หากรับประทานร่วมกับพาบาและ วิตามินบี 5
  • ช่วยลดระดับของกรดอะมิโนโฮโมซิสเทอีนในเลือด
  • ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจได้
  • ช่วยแก้ปัญหาสีผิวไม่สม่ำเสมอได้
  • เร่งการสลายไขมัน ลดการสะสมของคอเลสเตอรอลในตับ และในเลือด
  • การรับประทานโฟเลต 5 มิลิกรัมต่อวันช่วยลดความดันโลหิตและลดความเสี่ยงของเส้นเลือดในสมองแตก (Stroke)
  • เพิ่มประสิทธิภาพของสมอง ความจำระยะสั้น ความคิด การพูด
  • ลดการแพ้หอบ หอบหืด มีภูมิคุ้มกันที่ก่ออาการแพ้ (IgE) ในเลือดลดลง
  • ช่วยการสร้างสเปิร์มในเพศชาย ในเพศหญิงช่วยให้ไข่แบ่งตัวสมบูรณ์และช่วยการฝังตัวของตัวอ่อน

การขาดวิตามินบี 9 (โฟเลต)

  • ทำให้เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย
  • เป็นโลหิตจางชนิดเม็ดเลือดแดงแบ่งตัวช้าจึงมีขนาดใหญ่ผิดปกติ (Megaloblastic anemia)
  • มีลิ้นแดง
  • ผิวหนังอักเสบ ซึด ริมฝีปากแตก
  • ระบบประสาทผิดปกติ ความจำเสื่อม
  • เกิดอารมณ์แปรปวนง่าย
  • เบื่ออาหาร
  • กระดูกสันหลังเสื่อม เดินเซ
  • หากทารกในครรภ์อายุ 2 เดือนมีโฟลิกต่ำจะส่งผลให้เกิดกระดูกสันหลังโก่ง กระดูกไม่ปิด การสร้างสมองผิดปกติ
  • การรับประทาน แอสไพริน ยาคุมกำเนิด ยากันชัก (Phenytoin) ยาลดน้ำตาลในเลือด (Metformin) ยาต้านอักเสบ (Sulfasalazine) ยาขับปัสสาวะ (Triamterene) ยานอนหลับ (Barbiturates) ยาแก้แพ้ภูมิ (Methotrexate) ทำให้โฟเลตลดต่ำ
  • ผู้ป่วยลำไส้อักเสบ และผู้ที่สูบบุหรี่จะขาดโฟเลต
  • จากการศึกษาพบว่า ในช่วยอายุ 40-70 ปี ผู้ที่ดื่มสุราและขาดโฟเลตจะเป็นมะเร็งลำไส้สูงกว่าผู้ที่รับประทานโฟเลตและกรดอะมิโนเมทไธโอนีน
  • ไม่มีรายงานพิษจากการรับประทานโฟเลตมากกว่าปริมาณที่แนะนำเพราะโฟเลตละลายน้ำได้ ส่วนที่เหินจึงถูกขับออกพร้อมกับปัสสาวะ อย่างไรก็ตามการรับประทานโฟเลตมากเกินไปจะทำให้ขาดวิตามินบี 12 ดังนั้นจึงไม่ควรรับประทานโฟเลตเกิน 2 เท่าของปริมาณที่ร่างกายต้องการใน 1 วัน
  • พบความสัมพันธ์ว่าการที่ร่างกายมีโฟเลตต่ำ ขาดวิตามินบี 12 และบี 6 จะทำให้กรดอะมิโนโฮโมซีสเทอีน (Homocysteine) สูงมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ


 

 

แหล่งข้อมูล  – คู่มืออาหารเสริมฉบับสมบูรณ์

หากร่างกายได้รับโฟเลตจากอาหารไม่เพียงพอ ก็สามารถรับประทานจากผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร แบบเจลได้ พร้อมกับได้รับสารอาหารชนิดอื่นครบเพียงพอต่อวัน ด้วย AGEL MIN

มิน MIN วิตามินแร่ธาตุเพียงพอต่อหนึ่งวัน RDI

MIN ส่วนประกอบ
[/et_pb_text][/et_pb_column][/et_pb_row][/et_pb_section]

สั่งซื้อเจลพลัสด้วยวิธีง่ายๆ

ติดต่อ คุณดรณ์ ผู้เชี่ยวชาญสารอาหารบำบัดแบบเจล มากว่า 10 ปี

Line ID: @umigout
(ใส่ "@" ด้วยเสมอ)
กดเพิ่มเพื่อน > กดเพิ่มเพื่อน อูมิเก๊าท์

อูมิ UMI ลดกรดยูริค เก๊าท์ เบาหวาน ต้านเนื้อร้าย ลดอักเสบ เพิ่มภุมิคุ้มกัน
กรีน GRN ล้างพิษ ดีท๊อกซ์ ลดกรดยูริค ช่วยระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย

Related Articles

5 ค่าฮีมาโตคริต

https://youtube.com/shorts/cUZlpVaUgDI 5 ค่าฮีมาโตคริต (Hematocrit) - 7 ค่าเลือดสำคัญผู้ป่วยไตต้องรู้ #ผลเลือด #ค่าไต #โรคไตเสื่อม #โรคไตเรื้อรัง #รักสุขภาพ #รักสุขภาพรักตัวเอง #ดูแลสุขภาพ #สาระน่ารู้ดูแลสุขภาพ #youngsiamtv #ยังสยาม #ยังสยามทีวี ศึกษาเพิ่มเติมคลิ๊ก...

3 ค่าครีเอตินิน

https://youtu.be/cRSxG_84QBU 3 ค่าครีเอตินิน (CR - Creatinine) 7 ค่าเลือดสำคัญผู้ป่วยไตต้องรู้ #ผลเลือด #ค่าไต #โรคไตเสื่อม #โรคไตเรื้อรัง #รักสุขภาพ #รักสุขภาพรักตัวเอง #ดูแลสุขภาพ #สาระน่ารู้ดูแลสุขภาพ #youngsiamtv #ยังสยาม #ยังสยามทีวี 3.ค่า Creatinine บอกอะไรเรา...

3 ค่าครีเอตินิน

https://youtu.be/cRSxG_84QBU 3 ค่าครีเอตินิน (CR - Creatinine) 7 ค่าเลือดสำคัญผู้ป่วยไตต้องรู้ #ผลเลือด #ค่าไต #โรคไตเสื่อม #โรคไตเรื้อรัง #รักสุขภาพ #รักสุขภาพรักตัวเอง #ดูแลสุขภาพ #สาระน่ารู้ดูแลสุขภาพ #youngsiamtv #ยังสยาม #ยังสยามทีวี 3.ค่า Creatinine บอกอะไรเรา...

0 Comments

0 Comments

Submit a Comment

Your email address will not be published. Required fields are marked *